บทความ

Jarwiss Classroom User

รูปภาพ
Jarwiss Classroom VDO

Introduce Economic Basic Subject

กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 2200-1001 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น 2 – 0 – 2 จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. มีความรูความเข้าใจเกี่ยวกับความรูพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องทางเศรษฐศาสตร 2. นำความรูและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 3. ตระหนักถึงความสำคัญของหลักการทางด้านเศรษฐศาสตร์ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเกี่ยวกับแนวคิดพื้นบานทางเศรษฐศาสตร์และทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ 2. ประยุกต์ใช้หลักเศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวันและงานอาชีพ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับความรูพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาดุลยภาค ความ ยืดหยุนของอุปสงค์และอุปทาน ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค ทฤษฎีการผลิต ตลาดในระบบเศรษฐกิจ รายได ประชาชาติ เงินเฟ้อ เงินฝืดและเงินตึงตัว วัฎจักรเศรษฐกิจ ดุลการค้าและดุลการชำระเงิน และการพัฒนา เศรษฐกิจ โครงสร้างและปัญหาเศรษฐกิจของประเทศและแนวทางแกไข

Principles of Economics Introduce

กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ 3200–1001 หลักเศรษฐศาสตร 3-0-3 (Principles of Economics) จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักเศรษฐศาสตร์ 2. สามารถนําแนวทางคิดทางเศรษฐศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจําวันตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 3. เห็นคุณค่าและความสําคัญของหลักเศรษฐศาสตร์ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรที่สําคัญต่อการดําเนินธุรกิจ 2. ประยุกต์หลักเศรษฐศาสตร์ไปใช้ในงานอาชีพและชีวิตประจําวัน 3. ปฏิบัติงานด้วยความมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปทางเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ อุปทานและภาวะดุลยภาพของตลาด ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทานทฤษฎี พฤติกรรมผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิต ต้นทุน รายรับและกำไรจากการผลิต การกำหนดราคาสินค้า ในตลาดประเภทต่าง ๆ รายได้ประชาชาติองค์ประกอบและการกําหนดรายได้ประชาชาติ การเงินและการธนาคาร การคลังรัฐบาล การค้าระหว่างประเทศ เงินเฟ้อ เงินฝืด แล

Partnership Accounting Introduce

รายวิชา   การบัญชีห้างหุ้นส่วน  (Partnership Accounting Subject)   รหัสวิชา  2201-2002    จำนวนคาบ   4 คาบ ต่อสัปดาห์ จุดประสงค์รายวิชา      1. มีความเขาใจหลักการ และกระบวนการปฏิบัติงานบัญชี สําหรับกิจการหางหุนสวน      2. มีทักษะปฏิบัติงานบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป สําหรับกิจการหางหุนสวน         3. มีกิจนิสัย มีระเบียบ ละเอียดรอบคอบ ซื่อสัตย มีวินัยตรงตอเวลา และมีเจตคติที่ดีตอวิชาชีพบัญชี สมรรถนะรายวิชา       1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการบัญชี สําหรับกิจการหางหุนสวน        2. ปฏิบัติงานบัญชีสําหรับกิจการหางหุนสวนตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป คำอธิบายรายวิชา       ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ความหมายและประเภทของหางหุ้นส่วน กฎหมายที่เกี่ยวของกับหางหุ้นส่วน การจัดตั้งหางหุ้นส่วน การบันทึกรายการเปิดบัญชี การแบงผลกําไรขาดทุน การบันทึกบัญชีตามวิธีทุนเปลี่ยนแปลงและวิธีทุนคงที่ การจัดทํางบการเงิน  การรับหุนสวนใหม่ หุนสวนลาออก หุนสวนตาย การเลิกกิจการ และการชําระบัญชีหางหุนส่วน    การวัดผลและประเมินผล หน่วยที่   1    ความรู้ท

Partnership Road Map Learning

รูปภาพ
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วน (คลิก) ความหมาย ประเภท การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน 2. การบันทึกบัญชีห้างหุ้นส่วน  การบันทึกรายการเปิดรายการบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป (วิธีทุนคงที่ และวิธีทุนเปลี่ยนแปลง) (คลิก) 3. งบการเงินและการปิดบัญชี 1. งบการเงินและรายการปรับปรุง 2. การบันทึกรายการปิดบัญชี 4. การแบ่งกำไรขาดทุนของห้างหุ้นส่วน 1. การคำนวณแบ่งกำไรขาดทุน 2. บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป 5. การรับหุ้นส่วนใหม่ 1. การคำนวณการรับหุ้นส่วนใหม่ 2. บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป 6. หุ้นส่วนลาออก 1. การคำนวณหุ้นส่วนลาออก 2. บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป 7. หุ้นส่วนถึงแก่กรรม 1. การคำนวณหุ้นส่วนถึงแก่กรรม 2. บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป 8. การเลิกกิจการและชำระบัญชีห้างหุ้นส่วน 1. การคำนวณการชำระบัญชี 2. บันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป

งบการเงิน (ห้างหุ้นส่วน)

รูปภาพ
งบการเงิน แผนผังการเรียน งบการเงิน            รายการปรับปรุง (Adjusting Entries)    หมายถึง เป็นการปรับปรุงยอดบัญชีที่เป็นทั้งรายได้และจ่ายใช้จ่ายในงวดบัญชีให้ถูกต้องตามเกณฑ์คงค้างโดยรายการที่ต้องปรับปรุง 7 รายการคือ        1. ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า        2. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย        3. รายได้รับล่วงหน้า        4. รายได้ค้างรับ        5. วัสดุสำนักงานใช้ไป        6. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ        7. ค่าเสื่อมราคาสะสม       งบการเงิน (Financial Statement)  หมายถึง รายงานทางการเงินเพื่อแสดงผลการดำเนินงานของกิจการ สำหรับช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง และแสดงฐานะทางการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง      ประเภทของงบการเงินของห้างหุ้นส่วน ประกอบด้วย        1. งบกำไรขาดทุน  หมายถึง รายงานทางการเงินที่จัดทำขึ้นเพื่อแสดงผลการดำเนินงานของกิจการสำหรับช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายของกิจการ ทำให้ทราบว่าในช่วงเวลานั้นกิจการมีกำไรสุทธิ หรือ ขาดทุนสุทธิจำนวนเท่าใด        2. งบแสดงฐานะทางการเงิ น หมายถึง รายงานทางก